นิยามของคลังข้อมูล (Definition
of a
Data Warehouse)
ปัจจุบันนี้องค์ส่วนใหญ่ที่จะประสบความสำเร็จได้นั้นต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆอย่าง
และปัจจัยที่สำคัญมากสำหรับองค์กรคือข้อมูลที่มีอยู่และใช้ประจำวัน (Operational
Database) ซึ่งนับวันจะเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในแต่ละองค์กร
ที่จะต้องมีการจัดเก็บอย่างดี
ในอดีตการจัดเก็บข้อมูลเป็นเพียงการจัดเก็บบนเทปแม่เหล็ก แผ่นดิสก์ แผ่นซีดี ซึ่งมักจะเสี่ยงกับการสูญหายของข้อมูล
และการค้นหาข้อมูลก็ทำได้ยากและใช้เวลานาน ยิ่งข้อมูลที่มีจำนวนมากๆ
หรือมีขนาดใหญ่ ยิ่งเสี่ยงมาก อีกทั้ง การประมวลผลของข้อมูลยังช้าอีกด้วย ดังนั้น
จึงมีผู้คิดค้นวิธรการจัดเก็บข้อมูลเพื่อสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั่นก็คือ
การจัดเก็บข้อมูลในระบบคลังข้อมูล หรือ Data Warehouse นั่นเอง
เรามาทำความเข้าใจกับคลังข้อมูลกันก่อนว่า คลังข้อมูลนี้เป็นอย่างไร
ทบทวนระบบ... ที่มีอยู่ในปัจจุบันกันก่อนครับ เอาที่มันเกี่ยวข้องกับสุขภาพแล้วกันเนอะ!
1. ระบบ
Health Explorer สสจ.สระแก้ว
2. Data warehouse Mini Server & Client Tools 53.3.0 ของอาจารย์ Dusit โรงพยาบาลทัพทัน อ.ทัพทัน จ.อุทัยธานี
http://www.surinadmin.com/index.php?option=mod_news&task=newssingle&newid=93
4. โรงพยาบาลแก่งคอย ระบบ KK DATA เป็น web php
อ่านข้อมูลเพิ่มเติมที่
http://www.kkhos.com/web_com/index.php
ข้อมูลเพิ่มเติ่มที่เว็บ http://hosxp.net/index.php?option=com_smf&Itemid=28&topic=25119.0
3. Data Center ระดับอำเภอ ชุมพลบุรี เริ่มใช้งานที่ โรงพยาบาลชุมพลบุรี สุรินทร์
เป็น SoftWare เล็กๆ ที่สามารถจัดการรายงานข้อมูล ตามที่ผู้บริหาร และ ผู้ใช้งานต้องการต้องการ โดยแนวความคิดของ ท่าน นพ.จเด็ด ดียิ่ง
และจะพัฒนาให้สามารถใช้งานได้ทั้ง อำเภอ (ถ้ามีข้อมูล แต่ละ อนามัยมาอยู่ในมือ 5555)
http://www.surinadmin.com/index.php?option=mod_news&task=newssingle&newid=93
4. โรงพยาบาลแก่งคอย ระบบ KK DATA เป็น web php
อ่านข้อมูลเพิ่มเติมที่
http://www.kkhos.com/web_com/index.php