Wednesday, March 20, 2013

2013-03-21 ประชุม Antibiotic Smart Use

เชื้อดื้อยา MRSA, PRSP, VRE, ESBL,
เป้าหมาย
 - สังใช้ยาอย่างสมเหตุผล

URI  80% เป็นไวรัส

ไข้ สูง จุดขาวที่ทอลซิล ต่อมน้ำเหลืืองโต ลิ้นไก่บวม จุดเลือดออกที่เพดานอ่อน
ให้ยา ABT 10 วัน

ข้อควรรู้

    การมีน้ำมูกหรือเสมหะข้น หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ
อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ เพราะอาจเป็นโรคอื่นได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก



ไซนัส อักเสบ  
ถ้าเป็น 7 วันแล้วไม่หาย รักษาแบบ Bacteria



กลุ่มโรคที่ 2 ท้องร่วงเฉียบพลัน
สาเหตุ แบคทีเรีย  ไวรัส  อาหารเป็นพิษ
            การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี้
           ไข้สูง > 38๐c 
อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจพบWBC,RBCในอุจจาระ
ยาฆ่าเชื้อที่ควรใช้คือ norfloxacin
ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน
เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน (หากเป็นเด็กที่ต่ำกว่า 5 ปี ให้ตามแพทย์เสมอ)

ส่วนที่ 3 บาดแผล

    แผลที่ยังไม่ติดเชื้อ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง

แผลสะอาด หมายถึง

  • บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดง่าย
  • ไม่มีเนื้อตาย
  • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่ล้างออกได้ง่าย
  • แผลที่ไม่ได้เปื้อนสิ่งแปลกปลอมที่ติดเชื้อสูง เช่น น้ำคลอง ดิน มูลสัตว์ เป็นต้น


บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อสูง
  • บาดแผลที่ถูกวัตถุทิ่มเป็นรูยากแก่การทำความสะอาดได้ทั่วถึง
  • บาดแผลที่มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง
  • บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ไม่หมด
  • บาดแผลที่สัมผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน น้ำคลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์ เป็นต้น
  • บาดแผลจากการบดอัด
  • แผลที่เท้า
  • แผลขอบไม่เรียบ
  • แผลผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็นต้น
ยาที่รักษา
       ยาฆ่าเชื้อให้ในกรณีที่แผลมีโอกาสติดเชื้อสูงเท่านั้น และเป็นการให้เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ยาที่ควรใช้
Dicloxacillin
  • ผู้ใหญ่ 250 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน
  • เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน
Clindamycin
  • ผู้ใหญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน
  • เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครั้ง 2 วัน
กรณีสัตว์กัด
ATB Co- amoxiclav  : frist line drug  ถ้าไม่มีให้ Amoxyciline high dose (25-50 mg/kg/day)


>>>  ดาวโหลดเอกสาร <<<

คลิกอ่านต่อ
การบริหารความเสี่ยงสูง High Alert Drug
ภ.รุ้ง


0 ความคิดเห็น:

Post a Comment

 

Sample Text

111

Sample Text